
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
การอภิปรายเพื่อปรับปรุงและพัฒนาโครงงาน
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ให้เข้าใจ
๑.ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการทำโครงงานของนักเรียนมีดังนี้
ตอบ ๑.ได้รับรู้เนื้อหาที่แปลกใหม่ที่เราอาจไม่เคยรับรู้มาก่อน
๒. ได้ทำงานร่วมกับเพื่อนๆทำให้มีความสามัคคียิ่งขึ้น
๓. ได้มีความกระตือรือร้นที่จะทำงานด้วยความตั้งใจ เสียสละและจริงใจต่อกัน
๔. ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากนอกห้องเรียน
๕ทำให้มีความพยายามที่จะศึกษาทำงานให้เสร็จลุล่วงด้วยดี
๒. การปฏิบัติงานที่ไม่ปัญหามีดังนี้
ตอบ การทำงานเป็นกลุ่มที่มีความสามัคคี การสื่อสารหาข้อมูลที่ได้ความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี
๓. ข้อผิดพลาดในการทำโครงงานและการแก้ไขดังนี้
ข้อผิดพลาด
๑การลงข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน
๒รูปภาพที่ไม่ครบถ้วนตามกระบวนการ
การแก้ไข
๑.ตรวจสอบข้อมูลและลงข้อมูลให้ครบ
๒.ทำการถ่ายภาพเพิ่ม เพื่อให้ครบถ้วน
๑.ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการทำโครงงานของนักเรียนมีดังนี้
ตอบ ๑.ได้รับรู้เนื้อหาที่แปลกใหม่ที่เราอาจไม่เคยรับรู้มาก่อน
๒. ได้ทำงานร่วมกับเพื่อนๆทำให้มีความสามัคคียิ่งขึ้น
๓. ได้มีความกระตือรือร้นที่จะทำงานด้วยความตั้งใจ เสียสละและจริงใจต่อกัน
๔. ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากนอกห้องเรียน
๕ทำให้มีความพยายามที่จะศึกษาทำงานให้เสร็จลุล่วงด้วยดี
๒. การปฏิบัติงานที่ไม่ปัญหามีดังนี้
ตอบ การทำงานเป็นกลุ่มที่มีความสามัคคี การสื่อสารหาข้อมูลที่ได้ความร่วมมือจากชุมชนเป็นอย่างดี
๓. ข้อผิดพลาดในการทำโครงงานและการแก้ไขดังนี้
ข้อผิดพลาด
๑การลงข้อมูลที่ไม่ครบถ้วน
๒รูปภาพที่ไม่ครบถ้วนตามกระบวนการ
การแก้ไข
๑.ตรวจสอบข้อมูลและลงข้อมูลให้ครบ
๒.ทำการถ่ายภาพเพิ่ม เพื่อให้ครบถ้วน
ชื่อโครงงานการทำดอกไม้รังไหม
ชื่อโครงงาน การทำดอกไม้รังไหม
ชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน
๑.นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๒.นายยุทธภูมิ ร่วมสุข ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๓.นางสาวนุศรา โสมะภีร์ ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๔.นางสาวอมรรัตน์ คงงาม ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๕.นางสาวปฏิพัทธ์ ผันกลาง ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๖.นางสาวอัยเรศน์ สานนอก ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
จุดมุ่งหมายของโครงงาน
๑.ประยุกต์รังไหมให้มีค่ามากขึ้น
๒.การประดิษฐ์รังไหมให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สวยงาม
๓.การแปลสภาพรังไหม ให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่นำมาใช้ประโยชน์ได้
๔.เผยแผ่ให้ผู้คนทั่วไปได้รู้สิ่งประดิษฐ์จากรังไหม
๕.เผยแผ่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน
ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑.แบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม
๒.ศึกษาหาของมูลตามที่ได้แบ่งไว้
๓.รวมรวบข้อมูลที่ได้
๔.ทำการตรวจสอบข้อมูลที่ได้มา ว่าถูกต้องตามหัวข้อหรือไม่
๕.ลงข้อมูลในเว็บ Blogger
ข้อสังเกตระหว่างปฏิบัติงาน
๑.ความเหมาะสมของเวลา เหมาะสมในการทำงานดี
๒.การปฏิบัติ
ได้ การปฏิบัติเป็นไปได้ด้วยดี
ไม่ได้-
๓.ผลการปฏิบัติ
ตรงตามจุดมุ่งหมาย
๔.ข้อบกพร่อง
รูปภาพที่ไม่ครบตามข้อมูล
๕.จุดเด่น
ข้อมูลไม่ถูกต้อง
ชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน
๑.นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๒.นายยุทธภูมิ ร่วมสุข ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๓.นางสาวนุศรา โสมะภีร์ ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๔.นางสาวอมรรัตน์ คงงาม ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๕.นางสาวปฏิพัทธ์ ผันกลาง ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
๖.นางสาวอัยเรศน์ สานนอก ชั้น ม.๔/๒โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
จุดมุ่งหมายของโครงงาน
๑.ประยุกต์รังไหมให้มีค่ามากขึ้น
๒.การประดิษฐ์รังไหมให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สวยงาม
๓.การแปลสภาพรังไหม ให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่นำมาใช้ประโยชน์ได้
๔.เผยแผ่ให้ผู้คนทั่วไปได้รู้สิ่งประดิษฐ์จากรังไหม
๕.เผยแผ่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน
ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑.แบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม
๒.ศึกษาหาของมูลตามที่ได้แบ่งไว้
๓.รวมรวบข้อมูลที่ได้
๔.ทำการตรวจสอบข้อมูลที่ได้มา ว่าถูกต้องตามหัวข้อหรือไม่
๕.ลงข้อมูลในเว็บ Blogger
ข้อสังเกตระหว่างปฏิบัติงาน
๑.ความเหมาะสมของเวลา เหมาะสมในการทำงานดี
๒.การปฏิบัติ
ได้ การปฏิบัติเป็นไปได้ด้วยดี
ไม่ได้-
๓.ผลการปฏิบัติ
ตรงตามจุดมุ่งหมาย
๔.ข้อบกพร่อง
รูปภาพที่ไม่ครบตามข้อมูล
๕.จุดเด่น
ข้อมูลไม่ถูกต้อง
ประโยชน์จาการทำโครงงาน สิ่งที่เกิดคุณค่าในด้านท้องถิ่น
ประโยชน์จาการทำโครงงาน
๑.ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
๒.ได้เรียนรู้นอกโรงเรียน
๓.ได้ฝึกความสามัคคีในกลุ่ม
๔.ได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
สิ่งที่เกิดคุณค่าในด้านท้องถิ่น
๓.๑การแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานในเชิงปฏิบัติของโครงงานของโครงงานที่ ประสบผลสำเร็จไปสู่ท้องถิ่น ทำให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนมีความเข้าใจและประสานสัมพันธ์กันดียิ่ง
๓.๒ช่วยลดปัญหาวัยรุ่นในท้องถิ่นเกี่ยวกับจรรยามารยาทและศีลธรรม เพราะนักเรียนที่มีโครงงานมักจะเป็นนักเรียนที่มีประพฤติดีมุ่งมั่นและสนใจการศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น
๑.ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
๒.ได้เรียนรู้นอกโรงเรียน
๓.ได้ฝึกความสามัคคีในกลุ่ม
๔.ได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
สิ่งที่เกิดคุณค่าในด้านท้องถิ่น
๓.๑การแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานในเชิงปฏิบัติของโครงงานของโครงงานที่ ประสบผลสำเร็จไปสู่ท้องถิ่น ทำให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนมีความเข้าใจและประสานสัมพันธ์กันดียิ่ง
๓.๒ช่วยลดปัญหาวัยรุ่นในท้องถิ่นเกี่ยวกับจรรยามารยาทและศีลธรรม เพราะนักเรียนที่มีโครงงานมักจะเป็นนักเรียนที่มีประพฤติดีมุ่งมั่นและสนใจการศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สรุปและข้อเสนอแนะ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้นอกโรงเรียนและได้ประสบการณ์ในด้านหัตถกรรม
สรุปและข้อเสนอแนะ
การทำดอกไม้จากรังไหมเป็นการประยุกต์ใช้รังไหมให้เป็นประโยชน์มีคุณค่ามากขึ้น สามารถใช้ตกแต่งบ้านเรือน สถานที่ต่างๆได้เป็นผลิตภัณฑ์และเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับครอบครัว ชุมชน อีกทั้งยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีให้สืบทอดต่อไป
นักเรียนได้ประสบการณ์จากการเรียนรู้นอกโรงเรียนและได้ประสบการณ์ในด้านหัตถกรรม
สรุปและข้อเสนอแนะ
การทำดอกไม้จากรังไหมเป็นการประยุกต์ใช้รังไหมให้เป็นประโยชน์มีคุณค่ามากขึ้น สามารถใช้ตกแต่งบ้านเรือน สถานที่ต่างๆได้เป็นผลิตภัณฑ์และเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับครอบครัว ชุมชน อีกทั้งยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีให้สืบทอดต่อไป
การดำเนินงานจัดทำโครงงาน
การดำเนินงานจัดทำโครงงาน
๗.๑ขั้นเตรียม
ศึกษาโครงงานที่ทำอย่างระเอียดและเตรียมค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมโดยไปสัมภาษณ์และสอบถามขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหมกับ นางบุปผา ปะเทสัง และนางรำพึง ร่วมสุข ณ บ้านหลุ่งประดู่ แล้วรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนในการทำดอกไม้จากรังไหม
พร้อมทั้งเขียนโครงงานที่จะทำอย่างละเอียด
เสนอโครงงานที่จะทำให้เพื่อนในกลุ่มทราบถึงขั้นตอนในการทำโครงงานว่ามีขั้นตอนอย่างไร
เตรียมจัดหาอุปกรณ์การทำดอกไม้จากรังไหมโดยจัดซื้ออุปกรณ์จากกลุ่มแม่บ้านหลุ่งประดู่และร้านขายอุปกรณ์
๗.๒ขั้นปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหม
๑.เตรียมอุปกรณ์ในการทำ เช่น รังไหม ด้าย เข็ม ลวด เกสรดอกไม้ ใบไม้พราสติก กระดาษกาวสีเขียว ก้านดอก มีด กรรไกร
๒.นำรังไหมมาตัดเป็นกลีบดอก ๓-๔กลีบ แล้วเจาะรูตรงกลาง ๓.นำเกสรที่เตรียมไว้มารวมกับกลีบดอกที่เจาะรูโดยใช้ด้ายมัดให้ แน่น
๔.นำดอกไม้ที่มัดรวมกันแล้วนำมาประกอบใส่ก้านพร้อมทั้งใบด้วยไว้
๕.จัดดอกและใบให้สวยงามเป็นระเบียบ
๗.๓ระยะดำเนินการ
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒-๑๓ มกราคม ๒๕๕๓
๗.๔งบประมาณ
๒๕๐ บาท
๗.๕สถานที่จัดโครงงาน
กลุ่มหัตถกรรมบ้านหลุ่งประดู่ ต.หลุ่งประดู่ อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา
๗.๑ขั้นเตรียม
ศึกษาโครงงานที่ทำอย่างระเอียดและเตรียมค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมโดยไปสัมภาษณ์และสอบถามขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหมกับ นางบุปผา ปะเทสัง และนางรำพึง ร่วมสุข ณ บ้านหลุ่งประดู่ แล้วรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนในการทำดอกไม้จากรังไหม
พร้อมทั้งเขียนโครงงานที่จะทำอย่างละเอียด

เตรียมจัดหาอุปกรณ์การทำดอกไม้จากรังไหมโดยจัดซื้ออุปกรณ์จากกลุ่มแม่บ้านหลุ่งประดู่และร้านขายอุปกรณ์
๗.๒ขั้นปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหม
๑.เตรียมอุปกรณ์ในการทำ เช่น รังไหม ด้าย เข็ม ลวด เกสรดอกไม้ ใบไม้พราสติก กระดาษกาวสีเขียว ก้านดอก มีด กรรไกร
๒.นำรังไหมมาตัดเป็นกลีบดอก ๓-๔กลีบ แล้วเจาะรูตรงกลาง ๓.นำเกสรที่เตรียมไว้มารวมกับกลีบดอกที่เจาะรูโดยใช้ด้ายมัดให้ แน่น
๔.นำดอกไม้ที่มัดรวมกันแล้วนำมาประกอบใส่ก้านพร้อมทั้งใบด้วยไว้
๕.จัดดอกและใบให้สวยงามเป็นระเบียบ
๗.๓ระยะดำเนินการ
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒-๑๓ มกราคม ๒๕๕๓
๗.๔งบประมาณ
๒๕๐ บาท
๗.๕สถานที่จัดโครงงาน
กลุ่มหัตถกรรมบ้านหลุ่งประดู่ ต.หลุ่งประดู่ อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา
อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในโครงงาน
อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในโครงงาน
อุปกรณ์ที่ใช้
๑.รังไหม ๑๕ ขีด
๒.เกสรดอกไม้ ๑ ถุง
๓.ใบไม้พราสติก ๑ ถุง
๔.ลวด ๑ ถุง
๕.กระดาษกาวสีเขียว ๑ ม้วน
๖.ด้ายและเข็ม
๗.กรรไกร ๑ ด้าม
๘.ก้านดอก ๑ ถุง
๙.มีด ๑ อัน
๑๐.กาว ๑ แท่ง
อุปกรณ์ที่ใช้
๑.รังไหม ๑๕ ขีด
๒.เกสรดอกไม้ ๑ ถุง
๓.ใบไม้พราสติก ๑ ถุง
๔.ลวด ๑ ถุง
๕.กระดาษกาวสีเขียว ๑ ม้วน
๖.ด้ายและเข็ม
๗.กรรไกร ๑ ด้าม
๘.ก้านดอก ๑ ถุง
๙.มีด ๑ อัน
๑๐.กาว ๑ แท่ง
การศึกษาข้อมูลที่เขียนโครงงาน
การศึกษาข้อมูลที่เขียนโครงงาน
หลักการทำงานของการทำดอกไม้จากรังไหม เมื่อประดิษฐ์ดอกไม้จากรังไหมได้สวยงามแล้วก็นำดอกไม้จากรังไหมไปจัดตกแต่งภายในบริเวณบ้านหรือสถานที่สำคัญต่างๆให้มีความสวยงาม
หลักการทำงานของการทำดอกไม้จากรังไหม เมื่อประดิษฐ์ดอกไม้จากรังไหมได้สวยงามแล้วก็นำดอกไม้จากรังไหมไปจัดตกแต่งภายในบริเวณบ้านหรือสถานที่สำคัญต่างๆให้มีความสวยงาม
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมาย
๑.ส่งเสริมให้นักเรียนที่รักงานประดิษฐ์
๒.ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน
๓.เป็นอาชีพเสริมหารายได้
๔.ส่งเสริมประสบการณ์ทางด้านหัตถกรรม
๕.เป็นผลงานที่เสร็จแล้วนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
๑.ส่งเสริมให้นักเรียนที่รักงานประดิษฐ์
๒.ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน
๓.เป็นอาชีพเสริมหารายได้
๔.ส่งเสริมประสบการณ์ทางด้านหัตถกรรม
๕.เป็นผลงานที่เสร็จแล้วนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
ความสำคัญของโครงงาน
ความสำคัญของโครงงาน
การศึกษาหาข้อมูลในภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อมาเผยแพร่ให้ผู้คนทั่วไปได้รับรู้ถึงภูมิปัญญาของชาวบ้านซึ่งการทำดอกไม้จากรังไหมได้คำแนะนำจาก นางบุปผา ปะเทสัง และนางรำพึง ร่วมสุข และเป็นการศึกษาข้อมูลที่นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน ทำให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ไปด้วย
การศึกษาหาข้อมูลในภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อมาเผยแพร่ให้ผู้คนทั่วไปได้รับรู้ถึงภูมิปัญญาของชาวบ้านซึ่งการทำดอกไม้จากรังไหมได้คำแนะนำจาก นางบุปผา ปะเทสัง และนางรำพึง ร่วมสุข และเป็นการศึกษาข้อมูลที่นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน ทำให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ไปด้วย
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
รายงานภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมาสำเร็จรุล่วงไปด้วยดีต้องขอขอบพระคุณ คุณครูศิริพร วีระชัยรัตนา ครูสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคมและขอกราบขอบพระคุณแม่รำพึง ร่วมสุข และคุณป้าบุปผา ปะเทสัง ผู้ให้ข้อมูลในการทำงานครั้งนี้ บ้านหลุ่งประดู่ ตำบลหลุ่งประดู่ อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
เนื่องจากชาวบ้านหลุ่งประดู่ ตำบลหลุ่งประดู่ อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมามีการทำดอกไม้จากรังไหมที่มีในท้องถิ่นที่มีความสวยงามคณะผู้จัดทำจึงได้มีการนำเรื่องนี้มาศึกษาในโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอห้วยแถลง
เนื่องจากชาวบ้านหลุ่งประดู่ ตำบลหลุ่งประดู่ อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมามีการทำดอกไม้จากรังไหมที่มีในท้องถิ่นที่มีความสวยงามคณะผู้จัดทำจึงได้มีการนำเรื่องนี้มาศึกษาในโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอห้วยแถลง
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
เรื่อง การทำดอกไม้จากรังไหม
จัดทำโดย
นายยุทธภูมิ ร่วมสุข ม.๔/๒ เลขที่๑๖
นางสาวนุศรา โสมะภีร์ ม.๔/๒ เลขที่๑๙
นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง ม.๔/๒ เลขที่๖
นางสาวอมรรัตน์ คงงาม ม.๔/๒ เลขที่๒๒
นางสาวปฏิพัทธ์ ผันกลาง ม.๔/๒ เลขที่๓๘
อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
เรื่อง การทำดอกไม้จากรังไหม
จัดทำโดย
นายยุทธภูมิ ร่วมสุข ม.๔/๒ เลขที่๑๖
นางสาวนุศรา โสมะภีร์ ม.๔/๒ เลขที่๑๙
นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง ม.๔/๒ เลขที่๖
นางสาวอมรรัตน์ คงงาม ม.๔/๒ เลขที่๒๒
นางสาวปฏิพัทธ์ ผันกลาง ม.๔/๒ เลขที่๓๘
นางสาวอัยเรศน์ สารนอก ชั้นม.๔/๒ เลขที่๔๓
เสนอ
คุณครูศิริพร วีระชัยรัตนา
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
เสนอ
คุณครูศิริพร วีระชัยรัตนา
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
อุปกรณ์ในการทำดอกไม้จากรังไหม
อุปกรณ์การทำ

1. รังไหม
2. เกสรดอกไม้
3. ใบไม้พลาสติก
4. ลวด
5. กระดาษกาวสีเขียว
6. ด้ายและเข็ม
7. กรรไกร
8. ก้านดอก
9. มีด
10. กาว

1. รังไหม
2. เกสรดอกไม้
3. ใบไม้พลาสติก
4. ลวด
5. กระดาษกาวสีเขียว
6. ด้ายและเข็ม
7. กรรไกร
8. ก้านดอก
9. มีด
10. กาว
ขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหม
- ขั้นตอนการทำดอกไม้จากรังไหม
1. เตรียมอุปกรณ์ในการทำดอกไม้จากรังไหม เช่น รังไหม ด้าย เข็ม ลวด เป็นต้น

1. เตรียมอุปกรณ์ในการทำดอกไม้จากรังไหม เช่น รังไหม ด้าย เข็ม ลวด เป็นต้น

2. นำรังไหมมาตัดเป็นกลีบดอก 3-4 กลีบ แล้วเจาะรูตรงกลางของรังไหม
การทำดอกไม้จากรังไหม
โครงงานศึกษาเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตอำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
เรื่อง การทำดอกไม้จากรังไหม
ครูผู้สอน ครูศิริพร วีระชัยรัตนา
รหัสวิชา ง40202
ชื่อวิชา การนำเสนองานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2552
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง ชั้นม.4/2 เลขที่ 6
นายยุทธภูมิ ร่วมสุข ชั้น ม.4/2 เลขที่ 16
นางสาวนุศรา โสมะภีร์ ชั้นม.4/2 เลขที่ 19
นางสาวอมรรัตน์ คงงาม ชั้นม.4/2 เลขที่ 22
นางสาวปฏิพัทธ์ ผันกลาง ชั้นม.4/2 เลขที่ 38
นางสาวอัยเรศน์ สารนอก ชั้นม.4/2 เลขที่ 43
เรื่อง การทำดอกไม้จากรังไหม
ครูผู้สอน ครูศิริพร วีระชัยรัตนา
รหัสวิชา ง40202
ชื่อวิชา การนำเสนองานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2552
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง ชั้นม.4/2 เลขที่ 6
นายยุทธภูมิ ร่วมสุข ชั้น ม.4/2 เลขที่ 16
นางสาวนุศรา โสมะภีร์ ชั้นม.4/2 เลขที่ 19
นางสาวอมรรัตน์ คงงาม ชั้นม.4/2 เลขที่ 22
นางสาวปฏิพัทธ์ ผันกลาง ชั้นม.4/2 เลขที่ 38
นางสาวอัยเรศน์ สารนอก ชั้นม.4/2 เลขที่ 43
การทำดอกไม้จากรังไหม
ชื่อเรื่อง การทำดอกไม้จากรังไหม
ผู้เสนอโครงงาน นักเรียนชั้นม.4/2
นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง เลขที่ 6
นางสาวนุศรา โสระภีร์ เลขที่ 19
นางสาวอมรรัตร์ คงงาม เลขที่ 22
นางสาวปฎิพัทธ์ ผันกลาง เลขที่ 38
นางสาวอัยเรศน์ สารนอก เลขที่ 43
นายยุทธภูมิ ร่วมสุข เลขที่ 16
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวศิริพร วีระชัยรัตนา
ข้อมูลของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะศึกษา การทำดอกไม้จากรังไหม
จุดประสงค์ 1. ประยุกษ์รังไหมให้มีคุณค่ามากขึ้น
2.การประดิษฐ์รังไหมให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สวยงาม
3. การแปลสภาพรังไหมให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่นำมาใช้ประโยชน์ได้
4. เผยแผ่ข้อมูลให้ผู้คนทั่วไปได้รับรู้สิ่งประดิษฐ์จากรังไหม
5. เผยแผ่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
การศึกษาหาข้อมูลในภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อมาเผยแผ่ให้ผู้คนทั่วไป ได้รับรู้ภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซึ่งการทำดอกไม้จากรังไหม ได้คำแนะนำจาก นางบุปผา ปะเทสัง และนางลำพึง ร่วมสุข และเป็นการศึกษาข้อมูลที่นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน ทำให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ไปด้วย
วิธีดำเนินการ
ศึกษาการทำดอกไม้จากรังไหม โดยการสอบถามข้อมูล จากนางบุปผา ปะเทสังและ นางลำพึง ร่วมสุข ณ บ้านหลุ่งประดู่ แล้วรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนในการทำดอกไม้จากรังไหม จากนั้นทดลองทำดอกไม้จากรังไหมตามขั้นตอนที่ได้ศึกษามาและสุดท้ายนำข้อมูลลงในเว็บ Gotoknow
สรุปผลการศึกษา
รังไหมได้นำมาประยุกษ์ทำเป็นดอกไม้และยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำมาจำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้
อภิปราย ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ
การทำดอกไม้จากรังไหมเป็นการประยุกษ์ใช้รังไหมให้เป็นประโยชน์มีคุณค่ามกขึ้น สามารถใช้ตกแต่งบ้านเรือน สถานที่ต่างๆได้ เป็นผลิตภัณฑ์และเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับครอบครัว ชุมชน อีกทั้งยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีให้สืบทอดต่อไป
การประเมินโครงงาน
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ งานกลุ่มมีประโยชน์มีความเป็นจริง ความถูกต้องเนื้อหามีการศึกษาและลงมือปฎิบัติอย่างถูกต้องและมีแหล่งข้อมูล
ผู้เสนอโครงงาน นักเรียนชั้นม.4/2
นางสาวอรอนงค์ แสนคนึง เลขที่ 6
นางสาวนุศรา โสระภีร์ เลขที่ 19
นางสาวอมรรัตร์ คงงาม เลขที่ 22
นางสาวปฎิพัทธ์ ผันกลาง เลขที่ 38
นางสาวอัยเรศน์ สารนอก เลขที่ 43
นายยุทธภูมิ ร่วมสุข เลขที่ 16
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวศิริพร วีระชัยรัตนา
ข้อมูลของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่จะศึกษา การทำดอกไม้จากรังไหม
จุดประสงค์ 1. ประยุกษ์รังไหมให้มีคุณค่ามากขึ้น
2.การประดิษฐ์รังไหมให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สวยงาม
3. การแปลสภาพรังไหมให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่นำมาใช้ประโยชน์ได้
4. เผยแผ่ข้อมูลให้ผู้คนทั่วไปได้รับรู้สิ่งประดิษฐ์จากรังไหม
5. เผยแผ่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
การศึกษาหาข้อมูลในภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อมาเผยแผ่ให้ผู้คนทั่วไป ได้รับรู้ภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซึ่งการทำดอกไม้จากรังไหม ได้คำแนะนำจาก นางบุปผา ปะเทสัง และนางลำพึง ร่วมสุข และเป็นการศึกษาข้อมูลที่นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน ทำให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ไปด้วย
วิธีดำเนินการ
ศึกษาการทำดอกไม้จากรังไหม โดยการสอบถามข้อมูล จากนางบุปผา ปะเทสังและ นางลำพึง ร่วมสุข ณ บ้านหลุ่งประดู่ แล้วรวบรวมข้อมูลและขั้นตอนในการทำดอกไม้จากรังไหม จากนั้นทดลองทำดอกไม้จากรังไหมตามขั้นตอนที่ได้ศึกษามาและสุดท้ายนำข้อมูลลงในเว็บ Gotoknow
สรุปผลการศึกษา
รังไหมได้นำมาประยุกษ์ทำเป็นดอกไม้และยังเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำมาจำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้
อภิปราย ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ
การทำดอกไม้จากรังไหมเป็นการประยุกษ์ใช้รังไหมให้เป็นประโยชน์มีคุณค่ามกขึ้น สามารถใช้ตกแต่งบ้านเรือน สถานที่ต่างๆได้ เป็นผลิตภัณฑ์และเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้กับครอบครัว ชุมชน อีกทั้งยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีให้สืบทอดต่อไป
การประเมินโครงงาน
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ งานกลุ่มมีประโยชน์มีความเป็นจริง ความถูกต้องเนื้อหามีการศึกษาและลงมือปฎิบัติอย่างถูกต้องและมีแหล่งข้อมูล

หลักสำคัญในการเลี้ยงไหม
1. สถานที่เลี้ยงไหมห้ามสูบบุหรี่ และยาสูบเป็นอันขาด เพราะควันจะเป็นอันตรายต่อตัวไหม
2. สถานที่เลี้ยงไหมควรอยู่ห่างจากครัวไฟเพราะควันไฟและกลิ่นต่าง ๆ เป็นอันตรายต่อ ตัวไหมและ อย่ายากำจัดแมลงไม่ว่ายาชนิดใดพ่นใส่ในสถานที่เลี้ยงไหมเป็นอันขาด
3. ใบหม่อนที่ใช้เลี้ยงไหมจะต้องสะอาด
4. การให้อาหารครั้งหนึ่ง ๆ ต้องไม่น้อยหรือมากจนเกินไปควรกะให้พอดี
5. ต้องถ่ายมูลไหมก่อนนอนทุกครั้ง ส่วนไหมที่ตื่นครั้งที่สี่ต้องถ่ายมูลไหมอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
6. หลังจากการเลี้ยงไหมครั้งหนึ่ง ๆ กระด้ง ผ้าคลุม และเครื่องไม้เครื่องมือต่าง ๆ ควรล้างด้วยน้ำผสมยาฆ่าเชื้อโรคให้สะอาดแล้วตากแดดให้แห้งสนิทอย่างใช้ยากำจัดแมลงเป็นอันขาด
7. โรงเรือนสำหรับเลี้ยงไหมโดยเฉพาะนั้น ต้องปิดให้มิดแล้วรมด้วยควันกำมะถันจึงเปิดทิ้งไว้ประมาณ 3 - 4 วัน ก่อนที่จะเลี้ยงไหมต่อไป
การเลี้ยงไหม

การเลี้ยงไหม
การเลี้ยงไหม วงจรของชีวิตัวไหมจะเริ่มต้นจากไข่ ฟักเป็นตัวหนอนไหมในระยะเป็นตัวหนอนไหมจะลอกคราบ 4 ครั้ง พอตัวหนอนไหมแก่เข้าก็จะชักใยทำรังหุ้มตัวเองแล้วตัวไหมก็จะลอกคราบเป็นดักแด้อยู่ในรังนั้นพอครบอายุดักแด้ก็จะกลายเป็นผีเสื้อเจาะรังออกมาผสมพันธุ์กันพรัอมทั้งวางไข่ฟักเป็นตัวหนอนต่อไป วนเวียนกันอยู่อย่างนี้เรื่อย ๆ ไปไม่รู้จักจบอายุของไข่ของตัวไหมดังนี้
อยู่ในไข่ 10 วัน เป็นตัวหนอน 22 - 26 วัน เป็นดักแด้ 8 - 10 วัน เป็นผีเสื้อ 2 – 3 วัน รวม 42 - 49 วันตัวหนอนไหมและวิธีการเลี้ยง
เมื่อไข่มีอายุได้ 8 วัน ก็จะมีจุดดำ ๆ ที่ริมไข่ทุกใบ วันที่ 9 สีของฟองไข่จะเปลี่ยนเป็นสีเทาแก่แสดงว่าไข่นั้นจะฟักเป็นตัวแล้วและคืนวันที่ 9 เวลาเช้ามืดไข่ก็จะตั้งต้นฟักบ้างแล้วพอเที่ยงวันที่ 10 ก็จะฟักเป็นตัวหมด พอเย็นวันที่ 9 ต้องหากระดาษห่อไข่ไหมไว้เพราะเช้ามืดไข่จะฟักออกเป็นตัวและฟักไปเรื่อย ๆ จนถึงเที่ยงก็จะหมด เมื่อตัวไหมฟักออกหมดแล้วต้องแก้กระดาษที่ห่อนั้นออกแล้วหั่นใบหม่อนอ่อนๆ ให้กินโดยโรยลงไปบนตัวไหมพอควรทีแรกตัวไหมฟักมีอายุได้ 4 - 5 วันก็จะนอนครั้งหนึ่งเมื่อสังเกตดูว่าเห็นตัวไหมเริ่มนอนแล้วก็อาจจะถ่ายมูลไหมและเศษไหมหม่อนแห้งในกระด้งใหม่เสียก่อนที่ตัวไหมจะตื่นนอน เมื่อตัวไหมเป็นเช่นนี้เรียกว่า "นอนหนึ่ง" ตัวไหมจะมีอาการเช่นนี้อยู่วันหนึ่งหรือสองวันจึงจะฟื้นแข็งแรงเมื่อตัวไหมฟื้นจากนอนหนึ่งแล้วผู้เลี้ยงก็จะเลี้ยงโดยหั่นใบหม่อนให้กินอย่างเดิม พอได้ 7 วันตัวไหมก็จะสงบนิ่งไม่กินใบหม่อนและมีอาการเหมือนกันกับครั้งแรก คือ มีอาการสงบนิ่งและจะมีอาการเช่นนั้นอีกวันหนึ่งหรือสองวันเรียกว่า "นอนสอง" เมื่อฟื้นจากนอนสองคราวนี้ไม่ต้องหั่นใบหม่อนให้กินเพราะตัวไหมเขื่องขึ้นแล้ว ต่อไปอีก 7 วันตัวไหมจะมีอาการสงบนิ่งเหมือนที่เคยคราวนี้เรียกว่า "นอนสาม" เมื่อฟื้นจากนอนสามต่อไปอีก 7 วันตัวไหมก็จะมีอาการดังกล่าวอีกเรียกว่า "นอนสี่" หลังจากนอนสี่แล้วก็ถึงนอนห้ารอหนอนสุก (ตัวไหม) ที่แก่เต็มที่แล้วเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ไหมสุก" ซึ่งตัวไหมจะทำฝักและทำรังไหมทำฝักและทำรังเมื่อคัดตัวไหมขั้นนอนห้าประมาณ 5 - 7 วัน ตัวไหมก็จะเริ่มแก่ (เริ่มสุก) ก่อนที่ตัวไหมเป็นฝักและทำรังต้องหาจ่อไว้ให้พอดีกับตัวไหมหลังจากนั้นผู้เลี้ยงต้องหมั่นตรวจดูว่า ตัวไหมแก่คือ ทำฝักทำรังลักษณะที่ไหมทำการฝักทำรังจะสังเกตได้โดยดูตัวไหมที่มีสีเหลืองไปทั้งตัวแล้วรีบคัดตัวไหมตัวนั้นไป ใส่ไว้ในจ่อเลี้ยงคราวหนึ่งต้องคอยคัดไปใส่จ่อเรื่อย ๆ ราว 4 - 5 วัน จนหมดตัวแก่นั้นในขณะที่คัดตัวไหมไปใส่จ่อผู้เลี้ยงต้องไม่ให้อาหารกับตัวไหม เลยเพื่อจะได้ให้ตัวไหมรีบทำฝักและทำรัง เมื่อตัวไหมเข้าไปอยู่ในฝักราว 3 วันตัวไหมก็จะยุบตัวเล็กลงเรียกว่า "ตัวดักแด้" เลี้ยงจับฝักเขย่าดูปรากฏว่ามีเสียงดังขลุก ๆ อยู่ภายในแล้วแสดงว่าใช้ได้ จึงนำเอาไปต้มแล้วสาวต่อไป ถ้ารังใดจะเก็บเอาไว้ทำพันธุ์ ก็เก็บเอาไว้นานประมาณ 7 วันตัวดักแด้ก็จะมีปีกเรียกว่า "ตัวบี้"
การเลี้ยงไหม วงจรของชีวิตัวไหมจะเริ่มต้นจากไข่ ฟักเป็นตัวหนอนไหมในระยะเป็นตัวหนอนไหมจะลอกคราบ 4 ครั้ง พอตัวหนอนไหมแก่เข้าก็จะชักใยทำรังหุ้มตัวเองแล้วตัวไหมก็จะลอกคราบเป็นดักแด้อยู่ในรังนั้นพอครบอายุดักแด้ก็จะกลายเป็นผีเสื้อเจาะรังออกมาผสมพันธุ์กันพรัอมทั้งวางไข่ฟักเป็นตัวหนอนต่อไป วนเวียนกันอยู่อย่างนี้เรื่อย ๆ ไปไม่รู้จักจบอายุของไข่ของตัวไหมดังนี้
อยู่ในไข่ 10 วัน เป็นตัวหนอน 22 - 26 วัน เป็นดักแด้ 8 - 10 วัน เป็นผีเสื้อ 2 – 3 วัน รวม 42 - 49 วันตัวหนอนไหมและวิธีการเลี้ยง
เมื่อไข่มีอายุได้ 8 วัน ก็จะมีจุดดำ ๆ ที่ริมไข่ทุกใบ วันที่ 9 สีของฟองไข่จะเปลี่ยนเป็นสีเทาแก่แสดงว่าไข่นั้นจะฟักเป็นตัวแล้วและคืนวันที่ 9 เวลาเช้ามืดไข่ก็จะตั้งต้นฟักบ้างแล้วพอเที่ยงวันที่ 10 ก็จะฟักเป็นตัวหมด พอเย็นวันที่ 9 ต้องหากระดาษห่อไข่ไหมไว้เพราะเช้ามืดไข่จะฟักออกเป็นตัวและฟักไปเรื่อย ๆ จนถึงเที่ยงก็จะหมด เมื่อตัวไหมฟักออกหมดแล้วต้องแก้กระดาษที่ห่อนั้นออกแล้วหั่นใบหม่อนอ่อนๆ ให้กินโดยโรยลงไปบนตัวไหมพอควรทีแรกตัวไหมฟักมีอายุได้ 4 - 5 วันก็จะนอนครั้งหนึ่งเมื่อสังเกตดูว่าเห็นตัวไหมเริ่มนอนแล้วก็อาจจะถ่ายมูลไหมและเศษไหมหม่อนแห้งในกระด้งใหม่เสียก่อนที่ตัวไหมจะตื่นนอน เมื่อตัวไหมเป็นเช่นนี้เรียกว่า "นอนหนึ่ง" ตัวไหมจะมีอาการเช่นนี้อยู่วันหนึ่งหรือสองวันจึงจะฟื้นแข็งแรงเมื่อตัวไหมฟื้นจากนอนหนึ่งแล้วผู้เลี้ยงก็จะเลี้ยงโดยหั่นใบหม่อนให้กินอย่างเดิม พอได้ 7 วันตัวไหมก็จะสงบนิ่งไม่กินใบหม่อนและมีอาการเหมือนกันกับครั้งแรก คือ มีอาการสงบนิ่งและจะมีอาการเช่นนั้นอีกวันหนึ่งหรือสองวันเรียกว่า "นอนสอง" เมื่อฟื้นจากนอนสองคราวนี้ไม่ต้องหั่นใบหม่อนให้กินเพราะตัวไหมเขื่องขึ้นแล้ว ต่อไปอีก 7 วันตัวไหมจะมีอาการสงบนิ่งเหมือนที่เคยคราวนี้เรียกว่า "นอนสาม" เมื่อฟื้นจากนอนสามต่อไปอีก 7 วันตัวไหมก็จะมีอาการดังกล่าวอีกเรียกว่า "นอนสี่" หลังจากนอนสี่แล้วก็ถึงนอนห้ารอหนอนสุก (ตัวไหม) ที่แก่เต็มที่แล้วเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ไหมสุก" ซึ่งตัวไหมจะทำฝักและทำรังไหมทำฝักและทำรังเมื่อคัดตัวไหมขั้นนอนห้าประมาณ 5 - 7 วัน ตัวไหมก็จะเริ่มแก่ (เริ่มสุก) ก่อนที่ตัวไหมเป็นฝักและทำรังต้องหาจ่อไว้ให้พอดีกับตัวไหมหลังจากนั้นผู้เลี้ยงต้องหมั่นตรวจดูว่า ตัวไหมแก่คือ ทำฝักทำรังลักษณะที่ไหมทำการฝักทำรังจะสังเกตได้โดยดูตัวไหมที่มีสีเหลืองไปทั้งตัวแล้วรีบคัดตัวไหมตัวนั้นไป ใส่ไว้ในจ่อเลี้ยงคราวหนึ่งต้องคอยคัดไปใส่จ่อเรื่อย ๆ ราว 4 - 5 วัน จนหมดตัวแก่นั้นในขณะที่คัดตัวไหมไปใส่จ่อผู้เลี้ยงต้องไม่ให้อาหารกับตัวไหม เลยเพื่อจะได้ให้ตัวไหมรีบทำฝักและทำรัง เมื่อตัวไหมเข้าไปอยู่ในฝักราว 3 วันตัวไหมก็จะยุบตัวเล็กลงเรียกว่า "ตัวดักแด้" เลี้ยงจับฝักเขย่าดูปรากฏว่ามีเสียงดังขลุก ๆ อยู่ภายในแล้วแสดงว่าใช้ได้ จึงนำเอาไปต้มแล้วสาวต่อไป ถ้ารังใดจะเก็บเอาไว้ทำพันธุ์ ก็เก็บเอาไว้นานประมาณ 7 วันตัวดักแด้ก็จะมีปีกเรียกว่า "ตัวบี้"
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)